คงเหลือ รอคิว รอ/วัน
1/1 0 0
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : วิรัช ศรเลิศล้ำวาณิช
  • ISBN :9786163144164
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 226
  • ขนาดไฟล์ : 11.06 MB
ตำราภาษาไทยมีจำกัดมากโดยเฉพาะตำราสำหรับวิชาการทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ทำให้นักศึกษามีโอกาสทำความเข้าใจทางด้านเนื้อหาได้อย่างจำกัด วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมาก จนบางครั้งก็เคยคิดว่าถ้าจะตามวิทยาการทางด้านนี้ให้ทัน ก็จำเป็นต้องอ่านตำราที่เป็นภาษาอังกฤษที่เป็นสากลและมีผู้แต่งจำนวนมากเท่านั้น อย่างไรก็ตามเนื้อหาส่วนใหญ่ก็จะประกอบไปด้วยบริบทที่เป็นภาษาอังกฤษและมีตัวอย่างการประยุกต์ใช้ที่แตกต่างจากภาษาไทยเป็นอย่างมาก เมื่อวิทยาการการค้นคืนข้อมูลมีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอยู่มาก ดังนั้นการแต่งตำราเป็นภาษาไทยน่าจะเป็นประโยชน์สำหรับคนอ่านได้มากกว่า ได้เห็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมโดยไม่ต้องแปลเทียบ และเป็นการเพิ่มทางเลือกในการอ่านสำหรับตำราภาษาไทยที่มีอยู่น้อยมากเมื่อเทียบกับภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นที่เป็นภาษาหลัก - บทที่ 1 การค้นคืนแบบบูลีน (Boolean Retrieval) - บทที่ 2 ชุดคำศัพท์และบัญชีดัชนีเอกสาร (Term Vocabulary and Postings Lists) - บทที่ 3 การค้นคืนอย่างครอบคลุม (Tolerant Retrieval) - บทที่ 4 การสร้างดัชนีและการบีบอัดดัชนี (Index Construction and Index Compression) - บทที่ 5 การกำหนดคะแนนหรือน้ำหนักสำหรับคำสำคัญ (Scoring and Term Weighting) - บทที่ 6 การประเมินความสามารถของการค้นคืน (Retrieval Evaluation Measure) - บทที่ 7 การตอบสนองของความเกี่ยวเนื่องและการขยายคำค้น (Relevance Feedback and Query Expansion) - บทที่ 8 การจำแนกเอกสาร (Text Classification) - บทที่ 9 การจำแนกปริภูมิเวกเตอร์ (Vector Space Classification)      ฯลฯ
ตำราภาษาไทยมีจำกัดมากโดยเฉพาะตำราสำหรับวิชาการทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ทำให้นักศึกษามีโอกาสทำความเข้าใจทางด้านเนื้อหาได้อย่างจำกัด วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมาก จนบางครั้งก็เคยคิดว่าถ้าจะตามวิทยาการทางด้านนี้ให้ทัน ก็จำเป็นต้องอ่านตำราที่เป็นภาษาอังกฤษที่เป็นสากลและมีผู้แต่งจำนวนมากเท่านั้น อย่างไรก็ตามเนื้อหาส่วนใหญ่ก็จะประกอบไปด้วยบริบทที่เป็นภาษาอังกฤษและมีตัวอย่างการประยุกต์ใช้ที่แตกต่างจากภาษาไทยเป็นอย่างมาก เมื่อวิทยาการการค้นคืนข้อมูลมีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอยู่มาก ดังนั้นการแต่งตำราเป็นภาษาไทยน่าจะเป็นประโยชน์สำหรับคนอ่านได้มากกว่า ได้เห็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมโดยไม่ต้องแปลเทียบ และเป็นการเพิ่มทางเลือกในการอ่านสำหรับตำราภาษาไทยที่มีอยู่น้อยมากเมื่อเทียบกับภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นที่เป็นภาษาหลัก
- บทที่ 1 การค้นคืนแบบบูลีน (Boolean Retrieval)
- บทที่ 2 ชุดคำศัพท์และบัญชีดัชนีเอกสาร (Term Vocabulary and Postings Lists)
- บทที่ 3 การค้นคืนอย่างครอบคลุม (Tolerant Retrieval)
- บทที่ 4 การสร้างดัชนีและการบีบอัดดัชนี (Index Construction and Index Compression)
- บทที่ 5 การกำหนดคะแนนหรือน้ำหนักสำหรับคำสำคัญ (Scoring and Term Weighting)
- บทที่ 6 การประเมินความสามารถของการค้นคืน (Retrieval Evaluation Measure)
- บทที่ 7 การตอบสนองของความเกี่ยวเนื่องและการขยายคำค้น (Relevance Feedback and Query Expansion)
- บทที่ 8 การจำแนกเอกสาร (Text Classification)
- บทที่ 9 การจำแนกปริภูมิเวกเตอร์ (Vector Space Classification)
     ฯลฯ